การประชุมวิชาการประจำปี โดยสมาคม

กำหนดการประชุม

การประชุมวิชาการประจำปี 2563 ครั้งที่ 13
สมาคมความพิการปากแหว่ง เพดานโหว่ ใบหน้าและศีรษะ แห่งประเทศไทย
13th Annual Meeting of the Thai Cleft Lip-Palate and Craniofacial Association (THAI CLEFT 2020)
ระหว่างวันที่ 9-10 พฤศจิกายน 2563
ณ ห้องประชุม 201 อาคารสำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITSC) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วันจันทร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2563

08:15-08:45
ลงทะเบียน
08:45-09:00
พิธีเปิด
กล่าวต้อนรับโดย
รศ. พญ.วิมล ศิริมหาราช หัวหน้าศูนย์แก้ไขความพิการบนใบหน้าและศีรษะ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กล่าวรายงานโดย
รศ. นพ.นนท์ โรจน์วชิรนนท์ นายกสมาคมความพิการปากแหว่ง เพดานโหว่ ใบหน้าและศีรษะ แห่งประเทศไทย
กล่าวเปิดโดย
ศ.คลินิก นพ.นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
09:00-10:00
Opening Keynote : การนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ในประเทศไทย
ศ.กิตติคุณ นพ.จรัญ มหาทุมะรัตน์ ศัลยแพทย์ตกแต่ง หัวหน้าศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ แก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
ศ. ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
บรรยาย: ความเป็นมาของการนำเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้เพื่อการตรวจวินิจฉัยและรักษาในประเทศไทย
10:00-10:15
Coffee Break
10:15-12:00
เทคโนโลยีการรักษาและดูแลผู้ป่วย Cleft Lip/Palate และ Craniofacial Anomalies
อ. นพ.พีรศักดิ์ ฉอตระการกิจ ศัลยแพทย์ตกแต่ง คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล
อ. นพ.สรายุทธ ดำรงวงศ์ศิริ ศัลยแพทย์ตกแต่ง คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ผศ. นพ.ศรัณย์ วรศักดิ์วุฒิพงษ์ ศัลยแพทย์ตกแต่ง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
รศ. นพ.นนท์ โรจน์วชิรนนท์ ศัลยแพทย์ตกแต่ง ศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ แก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
Chairperson
รศ. ทพ. ดร.ปฐวี คงขุนเทียน ทันตแพทย์ สาขา ทันตกรรมรากเทียม ศูนย์ความเป็นเลิศทางทันตกรรมรากเทียม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Intraoperative positioning in craniofacial surgery
อ. นพ.พีรศักดิ์ ฉอตระการกิจ

3D planning in alveolar cleft and orthognathic surgery
อ. นพ.สรายุทธ ดํารงวงศ์

ThaiCleft care mobile application
ผศ. นพ.ศรัณย์ วรศักดิ์วุฒิพงษ์

การใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการดูแลคนไข้ปากแหว่ง เพดานโหว่ ความผิดปกติศีรษะและใบหน้า
รศ. นพ.นนท์ โรจน์วชิรนนท์
12:00-12:30
Lunch
12:30-13:00
นำเสนอผลงานวิชาการ บริเวณ ชั้น 1
13:00-14:45
Digitally Integrated Health Network for Cleft and Craniofacial Patients
ศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ แก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
รศ. นพ.นนท์ โรจน์วชิรนนท์ ศัลยแพทย์ตกแต่ง ศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ แก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ
พญ.ชุติมา จิรภิญโญ ศัลยแพทย์ตกแต่ง ศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ แก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ
คุณชุติมณฑน์ ปัญญาคำ นักจิตวิทยา ศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ แก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ
พว.อาทิติยา แดงสมบูรณ์ พยาบาลวิชาชีพ ศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ แก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ
ศูนย์ตะวันฉาย คณะแพทยศาสตร์และคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รศ. ทพ. ดร.พูนศักดิ์ ภิเศก ทันตแพทย์จัดฟัน ผู้อำนวยการศูนย์ตะวันฉาย
ผศ. นพ.พลากร สุรกุลประภา ศัลยแพทย์ตกแต่ง ผู้อำนวยการศูนย์การดูแลผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ ฯ
รศ. ดร.เบญจมาศ พระธานี นักแก้ไขการพูด ศูนย์ตะวันฉาย
พว.สุธีรา ประดับวงษ์ พยาบาลชำนาญการพิเศษ ศูนย์ตะวันฉาย
ทีมเครือข่ายความร่วมมือจังหวัดเชียงใหม่
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ ทันตสาธารณสุข หัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
รศ. ทพญ.มารศรี ชัยวรวิทย์กุล ทันตแพทย์จัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ. ดร.สุภาพร ชินชัย นักแก้ไขการพูด และนักกิจกรรมบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ. นพ.กฤษณ์ ขวัญเงิน แพทย์ศัลยแพทย์ตกแต่ง รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Chairperson
คุณพนมวรรณ อยู่ดี นักสังคมสงเคราะห์ และเลขาธิการมูลนิธิพัฒนาสตรีภาคเหนือ จังหวัดเชียงราย
แบ่งปัน แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ การดำเนินเครือข่ายการรักษาเชิงรุก โดย ทีมจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือตอนบน และ กรุงเทพมหานคร

  1. ระบบข้อมูลการทำงานเครือข่าย ในด้านการรักษาเเละฟื้นฟูผู้ป่วยฯ ของศูนย์ต่างๆ
    • การทำงานของระบบ(ข้อดี เเละ ข้อที่ควรปรับปรุงของระบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน)
  2. การพัฒนาระบบของศูนย์ฯ ต่างๆ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และเเนวคิดการพัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลฯ ของศูนย์ต่างๆ ในอนาคต
    • การเขื่อมโยงเครือข่ายระบบข้อมูลของศูนย์ฯ ต่างๆ กับระบบของศูนย์ฯ อื่นๆ
  3. การพัฒนาการเชื่อมโยงระบบข้อมูลการรักษาเเละฟื้นฟูผู้ป่วยฯ ให้ครอบคลุมทั่วประเทศในอนาคต
    • แสดงเเนวทางในทางปฏิบัติเป็นลำดับเพื่อความชัดเจนใน การนำมาขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาระบบ ได้อย่างเป็นรูปธรรม
14:45-15:00
Coffee Break
15:00-16:30
Updates from Dentists
ทพญ.ปองใจ วิรารัตน์ ทันตแพทย์จัดฟัน โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
รศ. ทพ. ดร.พูนศักดิ์ ภิเศก ทันตแพทย์จัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รศ. ทพญ.มารศรี ชัยวรวิทย์กุล ทันตแพทย์จัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Chairperson
ผศ. ทพญ.วิภาพรรณ ฤทธิ์ถกล ทันตแพทย์จัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
KORAT NAM: Updated treatment to long term follow-up
ทพญ.ปองใจ วิรารัตน์

งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อช่วยในการรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง เพดานโหว่ ตั้งแต่แรกเกิดจนสิ้นสุดกระบวกการรักษา
รศ. ทพ. ดร.พูนศักดิ์ ภิเศก

Digital Integration for Dental Treatment in Cleft Patients
รศ. ทพญ.มารศรี ชัยวรวิทย์กุล
18:00-21:30
Welcome dinner
สถานที่จัดเลี้ยง: ณ นิมมาน ดูแผนที่

วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน 2563

09:00-10:30
Thailand Consensus on Cleft and Craniofacial Care 2020 (TCCC 2020)
ผศ. นพ.พลากร สุรกุลประภา ตัวแทนสมาคมศัลยแพทย์ตกแต่งแห่งประเทศไทย
รศ. นพ.นนท์ โรจน์วชิรนนท์ นายกสมาคมความพิการปากแหว่ง เพดานโหว่ ใบหน้าและศีรษะ แห่งประเทศไทย
รศ. นพ. ทพ.ธงชัย นันทนรานนท์ นายกสมาคมศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์
ศ. ทพ.ธีระวัฒน์ โชติกเสถียร นายกสมาคมทันตแพทย์จัดฟันแห่งประเทศไทย
ผศ. ดร.ศรีวิมล มโนเชี่ยวพินิจ นายกสมาคมโสตสัมผัสวิทยาและการแก้ไขการพูดแห่งประเทศไทย
รศ. ดร.ศิริอร สินธุ อุปนายกสภาการพยาบาล
รศ. พญ. สุวิชา แก้วศิริ ตัวแทนราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย
ศ. นพ.วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ ตัวแทนราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
รศ. พญ.จิตลัดดา ดีโรจนวงศ์ ตัวแทนราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
Chairperson
ผศ. นพ.เฉลิมพงษ์ ฉัตรดอกไม้ไพร ศัลยแพทย์ตกแต่ง คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Panel discussion : นายกสมาคม หรือตัวแทน จากสหสาขาวิชาชีพ ที่เกี่ยวข้องร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการดูแลรักษาภาวะปากแหว่ง เพดานโหว่ และความพิการอื่น ๆ บนใบหน้าและศีรษะในประเทศไทย
10:30-10:45
Coffee Break
10:45-12:30
Updates from Plastic and Maxillofacial Surgeons
Prof. John B. Mulliken ศัลยแพทย์ตกแต่ง Harvard Medical School
ผศ. นพ.เฉลิมพงษ์ ฉัตรดอกไม้ไพร ศัลยแพทย์ตกแต่ง คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ผศ. ทพญ. ดร.เกศกัญญา สัพพะเลข ศัลยแพทย์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาศัลยศาสตร์
Chairperson
อ. ทพ.วริศ เผ่าเจริญ ศัลยแพทย์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Update in bilateral cleft lip repair
Prof. John B. Mulliken

Secondary rhinoplasty depending on how the primary done
ผศ. นพ.เฉลิมพงษ์ ฉัตรดอกไม้ไพร

Update in grafting material for alveolar cleft reconstruction
ผศ. ทพญ. ดร.เกศกัญญา สัพพะเลข
12:30-13:00
Lunch
13:00-13:30
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี
13:30-13:45
ประกาศผลและมอบรางวัลผู้ชนะการประกวดผลงานวิชาการ
13:45-15:15
Updates and Innovation in Nursing and Psychosocial Care
รศ. ดร.พัชรี วรกิจพูนผล พยาบาลวิชาชีพ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พว.พรพรรณ ดาศรี พยาบาลวิชาชีพ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
พว.ยุพิน ปักกะสังข์ พยาบาลชำนาญการ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ และศูนย์ตะวันฉาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พว.อาทิติยา แดงสมบูรณ์ พยาบาลชำนาญการ ฝ่ายการพยาบาล และศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ แก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
นส.ชุติมณฑน์ ปัญญาคำ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ แก้ไขความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
นส.พนมวรรณ อยู่ดี นักสังคมสงเคราะห์ และเลขาธิการมูลนิธิพัฒนาสตรีภาคเหนือ จังหวัดเชียงราย
Chairperson
พว.สุธีรา ประดับวงษ์ พยาบาลชำนาญการพิเศษ ศูนย์ตะวันฉาย
อัปเดตการพยาบาลและนวัตกรรมองค์ความรู้ Breastfeeding, Pre-post operative care, Nasal creator, Massage, Technology for follow up and speech รวมทั้งการดูแลด้านจิตสังคม
15:15-15:30
Coffee Break
15:30-17:00
Updates from Speech Pathologists and Otolaryngologists
Prof. Triona Sweeney Cleft Specialist, Speech & Language Therapist
รศ. พญ.นันทิการ์ สันสุวรรณ แพทย์ โสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ. พญ.ภาณินี จารุศรีพันธุ์ แพทย์ โสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Chairperson
รศ. ดร.เบญจมาศ พระธานี นักแก้ไขการพูด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Update from speech and language pathologist and otorhinolaryngologist Telepractice (telemedicine) can alleviate the effects of distance on access to care by using the application of telecommunications technology to the delivery of speech and language services at a distance, linking the clinician to the client/patient for assessment, intervention, and/or consultation. In the study “Parent Led Articulation Therapy for Children with Cleft Palate Speech Disorders (PLAT)” (Sweeney et al. 2020), telepractice was used to monitor the children’s speech progress and support parents in the delivery of home-based therapy. This approach might be currently beneficial in the case of distance or poor access to speech specialist. This presentation will report the study results and the implementation of this research into clinical practice. Some evidence for use of telepractice and insights from the PLAT study will be presented and discussed. Update obstructive sleep apnea and implantable hearing aid in patients with cleft and craniofacial deformities will be also presented in this session.
Prof. Triona Sweeney

Obstructive sleep apnea in cleft lip cleft palate
รศ. พญ.นันทิการ์ สันสุวรรณ

Implantable hearing device: an option for hearing rehabilitation in craniofacial anomalies สัก 10-15 นาที
ผศ. พญ.ภาณินี จารุศรีพันธุ์
17:00-17:30
ส่งต่อการประชุมสู่เจ้าภาพปี 2564 และปิดงาน
ผศ. นพ.กฤษณ์ ขวัญเงิน ศัลยแพทย์ตกแต่ง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ. นพ.สรายุทธ ดำรงวงศ์ศิริ ศัลยแพทย์ตกแต่ง คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล