Thaicleft
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับ
    • ข้อมูลสมาคม
    • ประวัติ
    • กรรมการบริหารชุดปัจจุบัน
    • กรรมการบริหารในอดีต
  • เครือข่าย
    • เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ
    • เครือข่ายสถานพยาบาล

    • TCCA Journal Club
    • โครงการรวมพลัง เครือข่าย ขยายรอยยิ้ม
  • ประชุมประจำปี
    • ปีปัจจุบัน
    • ครั้งก่อน ๆ
  • แหล่งความรู้
    • แนวทางการดูแลรักษา
    • -- แนวทางการดูแลปากแหว่งเพดานโหว่

    • เสวนาประชาชน
    • ความผิดปกติของการสื่อความหมาย
    • ความผิดปกติทางด้านหู คอ จมูก
    • การสนับสนุนการวินิจฉัยด้วยการตรวจทางพันธุกรรม
    • ความรู้ทางการพยาบาล
  • ติดต่อ

ความผิดปกติของการสื่อความหมาย

เพชรรัตน์ ใจยงค์ เผยแพร่เมื่อ 25 พฤศจิกายน 2564

ในโรคและภาวะที่มีความผิดปกติบนใบหน้าและศีรษะหลาย ๆ ประเภท มักพบมีความผิดปกติของการสื่อความหมาย ซึ่งหมายถึงพัฒนาการทางภาษาและความผิดปกติทางการพูด  นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย(นักแก้ไขการพูด)จึงมักจะเป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้รักษา  แต่เนื่องจากการบำบัดทางภาษาและการพูดเป็นกระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน และประเทศไทยยังขาดนักแก้ไขการพูดอยู่อีกมาก จึงทำให้ผู้ป่วยหลายคนไม่ได้รับการดูแลอย่างที่ควร  ส่วนของเราจึงหวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาได้เป็นอย่างดีที่สุด

ความผิดปกติของการสื่อความหมาย

ในโรคและภาวะที่มีความผิดปกติบนใบหน้าและศีรษะหลาย ๆ ประเภท มักพบมีความผิดปกติของการสื่อความหมาย ซึ่งหมายถึงพัฒนาการทางภาษาและความผิดปกติทางการพูด  นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย(นักแก้ไขการพูด)จึงมักจะเป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้รักษา  แต่เนื่องจากการบำบัดทางภาษาและการพูดเป็นกระบวนการที่ใช้เวลายาวนาน และประเทศไทยยังขาดนักแก้ไขการพูดอยู่อีกมาก จึงทำให้ผู้ป่วยหลายคนไม่ได้รับการดูแลอย่างที่ควร

ส่วนของเราจึงหวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาได้เป็นอย่างดีที่สุด

รายชื่อสมาชิกสมาคมที่เป็นนักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย (นักแก้ไขการพูด)

ณ วันที่ปัจจุบัน

  1. ProfessorTara Whitehill
  2. ผศ.ดร.กัลยาณี มกราภิรมย์ [คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]
  3. ผศ.กาญจน์ลักษณ์ คันธพสุนธรา
  4. น.ส.จุรีมาศ วิลากลาง [รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ (แผนกหู คอ จมูก)]
  5. นายชิษณุพงศ์ นุ่นโฉม [โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา]
  6. นายณัฐศาสตร์ อุณาศรี [โรงพยาบาลขอนแก่น]
  7. นางสาวทวิตรี ภูมินำ [คลินิกฝึกพูดฝึกกลืน รพ.ศรีนคนินทร์]
  8. นางสาวนลินี ดีงาม [โรงพยาบาลขอนแก่น]
  9. อ.ปรียา หล่อวัฒนพงษา
  10. นางปรียา หล่อวัฒนพงษา [โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]
  11. นางสาวพัชรณัญช์ สุทธิพันธ์ [กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลหาดใหญ่]
  12. นางสาวมานิตา โรจนมังคลาภรณ์ [ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร]
  13. ดร.ศรีวิมล มโนเชี่ยวพินิจ [คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล]
  14. รศ.ดร.สุภาพร ชินชัย [ภาควิชากิจกรรมบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]
  15. นางสาวอมรรัตน์ พงศ์จรรยากุล
  16. นางสาวเนตรา บัวกนก [คลินิกตรวจการได้ยินและฝึกพูด แผนกหู คอ จมูก ร.พ.ศรีนครินทร์]
  17. ศ.ดร.เบญจมาศ พระธานี
  18. นางสาวเพชรรัตน์ ใจยงค์ [ศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย]
  19. นางสาวเอรินทร์ ทรงเดชาไกรวุฒิ [โรงพยาบาลชลบุรี]

รายชื่อนักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย (นักแก้ไขการพูด) ในประเทศไทย

พัฒนาการทางภาษา

อายุ ความสามารถในการรับรู้และเข้าใจภาษา (Receptive) ความสามารถในการแสดงออกทางภาษา (Expressive) อาการ การรักษา
0-3 เดือน เริ่มฟังและตอบสนองต่อเสียงสิ่งแวดล้อม เสียงผู้เลี้ยงดู โดยแสดงอาการเมื่อได้ยินเสียง เช่น การชะงักหรือแสดงสีหน้า ร้องไห้เพื่อสื่อสารบอกความต้องการ เช่น เปียกชื้น หิว
ส่งเสียง เอะอะ เบา ๆ
เด็กนิ่งไม่ตอบสนองต่อเสียงสิ่งแวดล้อม เสียงผู้เลี้ยงดู หรือตอบสนองเฉพาะเสียงที่ดังเท่านั้น รับคำแนะนำในการกิน การกลืน เคี้ยวเป่า
3-6 เดือน แยกเสียงคนในครอบครัวได้ หรือจำเสียงที่คุ้นเคยได้ เช่น หยุดร้องเมื่อเด็กได้ยินเสียงผู้เลี้ยง หรือยิ้ม
เริ่มตอบสนองต่อการเรียกชื่อ
หันหาทิศทางของเสียง
เล่นเสียง “อ้อแอ้” และเสียงพยัญชนะ เช่น “อะ อะ อะ”, “ยะ ยะ ยะ”
คว้า จับสิ่งที่สนใจ
ส่งเสียงตอบกลับเมื่อมีคนมาคุยด้วย
ส่งเสียงเพื่อสื่อความหมาย
เริ่มแสดงอารมณ์ เช่น ยิ้ม เมื่อพอใจ ขมวดคิ้วเมื่อไม่พอใจ
ไม่เปล่งเสียง
ไม่หันหาเสียงตามทิศทาง
ไม่เอื้อมจับ คว้าสิ่งของ
กระตุ้นการสื่อสารเล่นเสียง
6-12 เดือน ตอบสนองต่อการเรียกชื่อ เริ่มรู้จักชื่อตนเอง
เลียบแบบท่าทาง
ตอบสนองต่อเสียงที่พึงพอใจ
เข้าใจคำสั่งห้าม เช่น “อย่า” หรือ “ไม่”
เริ่มทำตามคำสั่งง่าย ๆ เช่น บ๊าย ๆ
เริ่มส่งเสียงสูงๆ ต่ำๆ และเล่นเสียงกับตัวเองมากขึ้น
แสดงความสนใจสื่อสาร
ส่งเสียงคล้ายคำที่มีความหมาย (Jargon)
พยายามเลียนแบบคำพูด
ใช้ท่าทางในการสื่อสาร เช่น ชี้ คว้า ส่ายศีรษะ หรือปัด
เริ่มพูดเป็นคำที่มีความหมาย มีความตั้งใจสื่อความหมาย
ไม่สบตากับผู้เลี้ยงดู
ไม่เล่นเสียงสิ่งแวดล้อม
ไม่มีการชี้ให้ท่าทางเพื่อบอกความต้องการ
ไม่ตอบสนองต่อการเรียกชื่อ
กระตุ้นการสื่อสารผ่านเล่นเสียง ปั้นคำ
กระตุ้นอวัยวะที่ใช้ในการพูดเพื่อเตรียมความพร้อม ในการเคลื่อนไหวอวัยวะให้เกิดเสียงพูด
สมาคมความพิการปากแหว่ง เพดานโหว่ ใบหน้าและศีรษะ แห่งประเทศไทย

สำนักงานชั่วคราว โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย (ตึก สก. ชั้น 14) 1873 ถ.พระราม 4 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพ 10330

CONTACT US
  • โทรศัพท์: 0-2256-4330

  • โทรสาร: 0-2256-5314

  • อีเมล์: thaicleft@gmail.com

สมัครสมาชิกออนไลน์
Download ใบสมัครเป็นสมาชิก

© Copyright 2021. All Rights Reserved.